เพดานปูนหลุดล่อน ดูเหมือนไม่มีอะไร แต่! อย่าชะล่าใจ

Rate this post

การซ่อมแซมเพดาลปูนที่หลุดล่อน
เพราะปูนที่กะเทาะล่อนหลุดลงมาจากเพดานส่งผลต่อความแข็งแรงของโครงสร้างบ้าน ยิ่งถ้าปล่อยไว้จนกะเทาะถึงเนื้อเหล็ก จะทำให้เหล็กเกิดสนิมและรับน้ำหนักได้น้อยลงจนอาจเกิดการทรุดตัวได้ในระยะยาว ไม่ควรซ่อมด้วยปูนฉาบธรรมดา เพราะปูนฉาบธรรมดาไม่สามารถยึดเกาะได้ดี มีการหดตัวของปูน ไม่นานก็จะหลุดล่อนลงมาอีก

จึงแนะนำให้รีบซ่อมแซม โดยแบ่งได้เป็น 2 กรณีครับ

กรณีที่ 1 การหลุดล่อนที่ไม่ถึงเนื้อเหล็กเสริมแรง
แนะนำการซ่อมแซมโดยใช้ “จระเข้ อะคริลิก แพทช์” ซีเมนต์สำหรับซ่อมแซมงานโครงสร้างที่มีความลึก 5-50 มิลลิเมตร โดยผสมจระเข้อะคริลิก แพทช์ 3.7 ส่วน ต่อ น้ำ 1 ส่วน โดยปริมาตร ฉาบปิดรอยแตก

กรณีที่ 2 การหลุดล่อนถึงเนื้อเหล็กเสริมแรง

แนะนำการซ่อมแซมโดยใช้ “จระเข้ รีแพร์ มอต้าร์” ซีเมนต์สำหรับซ่อมแซมโครงสร้าง รอยแตกร้าว รอยบิ่น หลุมลึก 3-40 มิลลิเมตร โดยการผสมเหลวทาเหล็กเสริมแรงเพิ่มป้องกันเหล็กเสริมแรงกัดกร่อน จากนั้นจึงผสมจระเข้ รีแพร์ มอต้าร์ 4 ส่วน ต่อน้ำ 1 ส่วนโดยปริมาตร ฉาบปิดรอยแตก

ศาสตราจารย์ คณาเดช 35 ปีที่โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ

อายุรแพทย์โรคหัวใจ อายุรแพทย์ (แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว) นักบำบัดโรค แพทย์ประจำคลินิก มีวิธีการที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพในการวินิจฉัยและรักษาโรคที่หลากหลายในเด็กและผู้ใหญ่ เขาเป็นหนึ่งในเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านปัญหาความพิการชั่วคราว คุณภาพของการรักษาพยาบาล เขามีความรู้ทางด้านโรคหัวใจและทางเดินอาหาร เขารู้ดีถึงปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ใช้วิธีตรวจสอบ Holter และตรวจวัดความดันโลหิตทุกวัน
ทักษะผู้เชี่ยวชาญ:

ความดันโลหิตสูงในทุกรูปแบบ รวมถึงความดันโลหิตสูงในหลอดเลือดแดงทุติยภูมิ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
การรบกวนจังหวะการเต้นของหัวใจ
โรคหัวใจอุดกั้นเรื้อรัง
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่างแบบเฉียบพลัน
โรคหอบหืด
โรคกระเพาะเรื้อรังและแผลในกระเพาะอาหาร
ไตวายเรื้อรัง
ความผิดปกติของลำไส้ทำงาน
โรคกระดูกพรุน

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *