จระเข้ วอลล์ พัตตี้

Rate this post

1จระเข้ วอลพัตตี้
Crocodile Wall Putty
(สีโป๊วอะคริลิก สำหรับผนัง)

จระเข้ วอลพัตตี้ เป็นอะคริลิคสำเร็จรูปใช้สำหรับโป๊วอุดรอยแตกร้าว รอยต่อหัวตะปู รอยตะเข็บรูฟองอากาศ สามารถใช้โป๊วบนวัสดุได้หลากหลาย แห้งเร็ว ขัดแต่งง่าย ไม่แตกกะเทาะ หรือหลุดล่อน ทาสีทับได้ ไม่มีสารระเหย ไม่ทำให้สีทับหน้าเหลือง

คุณลักษณะพิเศษ
• ครีมข้นสีขาว
• พร้อมใช้งานได้ทันที
• ใช้งานง่าย โดยโป๊ว ด้วยเกรียงโป๊ว
• แห้งเร็ว ไม่ยุบตัว
• ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก
• จัดแต่งง่าย ไม่ทำให้สีทับหน้าเหลือง

ลักษณะการใช้งาน
ใช้ได้ทั้งงานภายในและภายนอก สามารถใช้โป๊วบนวัสดุหลากหลาย
• คอนกรีต
• ยิปซั่ม ปูนฉาบ
• อิฐมอญ อิฐบล็อค อิฐมวลเบา
• ไม้สังเคราะห์

ข้อแนะนำในการทำงานการเตรียมพื้นผิว
• พื้นผิวต้องแข็งแรง สะอาด ปราศจากฝุ่น คราบน้ำมัน สี เศษสิ่งสกปรกที่หลุดล่อนได้ง่าย น้ำยาทาแบบ เศษปูนฉาบหรือยิปซัม
• ต้องสกัดหรือเจียรรอยตะเข็บแบบหรือสันนูนที่หนาเกินไปออกก่อนที่จะทำการโป๊ว

การเตรียมวัสดุ
จระเข้ วอลพัตตี้ เป็นผลิตภัณฑ์พร้อมใช้งาน ห้ามผสมน้ำ

ขั้นตอนการทำงาน
• ใช้โป๊วด้วยเกรียงโป๊ว
• ทิ้งไว้ให้แห้ง ขัดด้วยกระดาษทรายให้เรียบ
• สำหรับรอยแตกร้าว รู หรือร่องขนาดใหญ่ ให้โป๊ว เป็นชั้นๆโดยทิ้งให้แต่ละชั้นแห้งก่อนโป๊วอีกชั้นจนเต็ม
• ทิ้งให้แห้งสนิท 0-4 ชั่วโมงก่อนทาสี

ข้อควรระวัง
• อุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการทำงาน 10-35 องศาเซลเซียส
• ห้ามใช้โป๊วในบริเวณที่ต้องแช่น้ำตลอดเวลา เช่น ถังเก็บน้ำ
• ไม่เหมาะกับรอยแตกร้าวที่ยังไม่หยุด รอยแตกร้าวกว้างๆ หรือรอยต่อโครงสร้างที่มีการเคลื่อนตัว
• กรณีใช้กับผนังรูพรุนมาก อาจเจือจางโดยผสมน้ำ 1-15%
• ล้างเครื่องมือด้วยน้ำหลังการใช้งาน ก่อนที่วัสดุจะแห้ง

ศาสตราจารย์ คณาเดช 35 ปีที่โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ

อายุรแพทย์โรคหัวใจ อายุรแพทย์ (แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว) นักบำบัดโรค แพทย์ประจำคลินิก มีวิธีการที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพในการวินิจฉัยและรักษาโรคที่หลากหลายในเด็กและผู้ใหญ่ เขาเป็นหนึ่งในเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านปัญหาความพิการชั่วคราว คุณภาพของการรักษาพยาบาล เขามีความรู้ทางด้านโรคหัวใจและทางเดินอาหาร เขารู้ดีถึงปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ใช้วิธีตรวจสอบ Holter และตรวจวัดความดันโลหิตทุกวัน
ทักษะผู้เชี่ยวชาญ:

ความดันโลหิตสูงในทุกรูปแบบ รวมถึงความดันโลหิตสูงในหลอดเลือดแดงทุติยภูมิ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
การรบกวนจังหวะการเต้นของหัวใจ
โรคหัวใจอุดกั้นเรื้อรัง
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่างแบบเฉียบพลัน
โรคหอบหืด
โรคกระเพาะเรื้อรังและแผลในกระเพาะอาหาร
ไตวายเรื้อรัง
ความผิดปกติของลำไส้ทำงาน
โรคกระดูกพรุน

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *