หยุด! ร้าว รั่ว ซึม ตอน กระเบื้องระเบิด แตก หลุดล่อน

Rate this post

สาเหตุ

  • ไม่ใช้กาวซีเมนต์ปูกระเบื้อง
  • ใช้กาวซีเมนต์ไม่ได้คุณภาพ
  • ปูผิดวิธี
  • กาวยาแนวไม่ได้คุณภาพ

วิธีแก้ไข กรณีซ่อมเฉพาะจุดที่หลุดล่อน

  • ใช้อุปกรณ์ขุดร่องยาแนวรอบจุดที่หลุดล่อน แล้วสกัดกระเบื้องออก ทำความสะอาดพื้นผิว ปูกระเบื้องโดยใช้จระเข้แพลทินัม/จระเข้ทองปูนกาวซ่อมแซม และใช้กาวยาแนวอีพ๊อกซี่ พลัส/เทอร์โบ พลัส/พรีเมี่ยม พลัส เงิน

วิธีแก้ไข กรณีรื้อกระเบื้องเพื่อปูใหม่

  • ปูกระเบื้องโดยใช้กาวซีเมนต์จระเข้เนเจอรัล สโตน เมท/แพลทินัม/ทอง/เงิน/แดง/เขียว เว้นร่องยาแนวด้วย Spacer และใช้ยาแนวอีพ็อกซี่ พลัส/เทอร์โบ พลัส/พรีเมี่ยม พลัส เงิน

สาเหตุ

  • ไม่ใช้น้ำยากันซึม
  • ไม่ใช้กาวซีเมนต์ปูกระเบื้อง
  • ใช้กาวซีเมนต์ไม่ได้คุณภาพ
  • ปูผิดวิธี (แบบซาลาเปา)
  • กาวยาแนวไม่ได้คุณภาพ

วิธีแก้ไข รื้อกระเบื้องเพื่อปูใหม่

  • ควรตรวจสอบความแข็งแรงของพื้นผิว ปรับระดับให้เรียบทำความสะอาด แล้วใช้จระเข้เฟล็กซ์ ชิลด์/ซุปเปอร์ ชิลด์/เพอเฟ็ค ชิลด์ ทารองพื้นทุกครั้ง (เพื่อช่วยกันซึม)

ปูกระเบื้องโดยใช้กาวซีเมนต์จระเข้เนเจอรัล สโตน เมท/แพลทินัม/ทอง/เงิน/แดง/เขียว เว้นร่องยาแนวด้วย Spacer และใช้กาวยาแนวอีพ็อกซี่ พลัส/เทอร์โบ พลัส/พรีเมี่ยม พลัส เงิน


มักเกิดกับกระเบื้องในส่วนที่เป็นพื้นมากกว่าผนัง

สาเหตุ

  • สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงกะทันหัน
  • ไม่ใช้กาวซีเมนต์ปูกระเบื้อง
  • ใช้กาวซีเมนต์ไม่ได้คุณภาพ
  • ปูชิด เว้นร่องยาแนวน้อยเกินไป
  • ใช้กาวยาแนวไม่เหมาะสม
  • กระเบื้องไม่ได้คุณภาพ/ใช้ผิดประเภท

วิธีแก้ไข กรณีซ่อมเฉพาะจุดที่ระเบิด/แตก

  • ใช้อุปกรณ์ขูดร่องยาแนวรอบจุดที่ระเบิด/แตก แล้วสกัดกระเบื้องออก ทำความสะอาดพื้นผิว ปูกระเบื้องโดยใช้กาวซีเมนต์จระเข้แพลทินัม/จระเข้ทองปูนกาวซ่อมแซม และใช้กาวยาแนวอีพ็อกซี่พลัส/เทอร์โบ พลัส/พรีเมี่ยม พลัส เงิน

วิธีแก้ไข กรณีรื้อกระเบื้องเพื่อปูใหม่

  • ปูกระเบื้องโดยใช้กาวซีเมนต์จระเข้เนเจอรัล สโตน เมท/แพลทินัม/ทอง/เงิน/แดง/เขียว เว้นร่องยาแนวด้วย Spacer และใช้กาวยาแนวอีพ็อกซี่พลัส/เทอร์โบ พลัส/พรีเมี่ยม พลัส เงิน

สาเหตุ

  • ใช้กาวยาแนวผิดประเภท

วิธีแก้ไข ขูดร่องยาแนว และยาใหม่

  • ใช้เครื่องมือขูดร่องยาแนว แล้วใช้กาวยาแนวอีพ็อกซี่พลัส/เทอร์โบ พลัส/พรีเมี่ยม พลัส เงิน

สาเหตุ

  • ไม่ใช้กาวซีเมนต์ที่มีคุณสมบัติลดการเกิดคราบขาว

วิธีแก้ไข กรณีขจัดคราบขาวที่เกิดบนผิวหน้ากระเบื้อง

  • ใช้น้ำยาจระเข้ขจัดคราบซีเมนต์

วิธีแก้ไข กรณีรื้อกระเบื้องเพื่อปูใหม่

  • ปูกระเบื้อวโดยใช้กาวซีเมนต์จระเข้เนเจอรัล สโตน เมท เว้นร่องยาแนวด้วย Spacer และใช้กาวยาแนว เทอร์โบ พลัส

วิธีป้องกัน

  • ถ้าไม่อยากให้กระเบื้องเกิดคราบขาว หลังจากที่มีการปรับสภาพพื้นผิวให้เรียบเสมอกัน ก่อนปูหินธรรมชาติ ควรใช้จระเข้ เฟล็กซ์ ชิลด์ ทาให้ทั่วพื้นผิว ปูกระเบื้องโดยใช้กาวซีเมนต์จระเข้เนเจอรัล สโตน เมท จากนั้นให้ใช้กาวยาแนวจระเข้เทอร์โบ พลัส ยาแนวตามร่อง

สาเหตุ

  • ต้องการเปลี่ยนลายกระเบื้องใหม่ และไม่อยากรื้อกระเบื้องเดิม

วิธีแก้ไข ปูกระเบื้องทับ

  • ใช้กาวซีเมนต์จระเข้ทอง ปูทับกระเบื้องเดิม เว้นร่องยาแนวด้วย Spacer และใช้กาวยาแนวอีพ็อกซี่ พลัส/เทอร์โบ พลัส/พรีเมี่ยม พลัส เงิน

ข้อควรระวังในการรื้อกระเบื้อง ควรตรวจสอบความแข็งแรงของพื้นผิว ปรับระดับให้เรียบ ทำความสะอาด และใช้จระเข้เฟล็กซ์ ชิลด์/ซุปเปอร์ ชิลด์/เพอเฟ็ค ชิลด์ ทารองพื้นก่อนทุกครั้ง


วิธีการปูกระเบื้องให้ถูกต้อง

  1. ตรวจสอบความแข็งแรงของพื้นผิว                 2. ปรับระดับพื้นผิวให้เรียบเสมอกัน

3. ทำความสะอาดพื้นผิว                                   4. ทากันซึม จระเข้เฟล็กซ์ ชิลด์/ซุปเปอร์ ชิลด์/เพอเฟ็ค ชิลด์

5. เลือกกาวซีเมนต์ให้ถูกประเภท ใช้เกรียงหวีให้ถูกขนาดกระเบื้อง

6. เว้นร่องยาแนวให้ถูกต้องด้วย Spacer (อย่างน้อย 2 มม.)

7. เลือกกาวยาแนวให้ถูกประเภท

ศาสตราจารย์ คณาเดช 35 ปีที่โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ

อายุรแพทย์โรคหัวใจ อายุรแพทย์ (แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว) นักบำบัดโรค แพทย์ประจำคลินิก มีวิธีการที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพในการวินิจฉัยและรักษาโรคที่หลากหลายในเด็กและผู้ใหญ่ เขาเป็นหนึ่งในเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านปัญหาความพิการชั่วคราว คุณภาพของการรักษาพยาบาล เขามีความรู้ทางด้านโรคหัวใจและทางเดินอาหาร เขารู้ดีถึงปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ใช้วิธีตรวจสอบ Holter และตรวจวัดความดันโลหิตทุกวัน
ทักษะผู้เชี่ยวชาญ:

ความดันโลหิตสูงในทุกรูปแบบ รวมถึงความดันโลหิตสูงในหลอดเลือดแดงทุติยภูมิ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
การรบกวนจังหวะการเต้นของหัวใจ
โรคหัวใจอุดกั้นเรื้อรัง
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่างแบบเฉียบพลัน
โรคหอบหืด
โรคกระเพาะเรื้อรังและแผลในกระเพาะอาหาร
ไตวายเรื้อรัง
ความผิดปกติของลำไส้ทำงาน
โรคกระดูกพรุน

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *